4. ป่า พรุ หรือ ป่า บึง น้ำ จืด (Swamp Forest )
ป่า ชนิด นี้ มัก ปรากฎ ใน บริเวณ ที่ มี น้ำ จืด ท่วม มาก ๆ ดิน ระบาย น้ำ ไม่ ดี ป่า พรุ ใน ภาค กลาง มี ลักษณะ โปร่ง และ มี ต้น ไม้ ขึ้น อยู่ ห่าง ๆ เช่น ครอ เทียน สนุ่น จิก โมกบ้าน หวาย น้ำ หวาย โปร่ง ระ กำ อ้อ และ แขม ใน ภาค ใต้ ป่า พรุ มี ขึ้น อยู่ ตาม บริเวณ ที่ มี น้ำ ขัง ตลอด ปี ดิน ป่า พรุ ที่ มี เนื้อ ที่ มาก ที่สุด อยู่ ใน บริเวณ จังหวัดนราธิวาสดิน เป็น พีท ซึ่ง เป็น ซาก พืช ผุ สลาย ทับ ถม กัน เป็น เวลา นาน ป่า พรุ แบ่ง ออก ได้ 2 ลักษณะ คือ ตาม บริเวณ ซึ่ง เป็น พรุ น้ำ กร่อย ใกล้ ชาย ทะเล ต้น เสม็ด จะ ขึ้น อยู่ หนา แน่น พื้น ที่ มี ต้น กก ชน ิดต่าง ๆ เรียก "ป่า พรุ เสม็ด หรือ ป่า เสม็ด " อีก ลักษณะ เป็น ป่า ที่ มี พันธุ์ ไม้ ต่าง ๆ มาก ชนิด ขึ้น ปะ ปน กัน ชนิด พันธุ์ ไม้ ที่ สำคัญ ของ ป่า พรุ ได้ แก่ อินทนิล น้ำ หว้า จิก โสก น้ำ กระ ทุ่ม น้ำภันเก รา โงง งัน กะ ทั่ง หัน ไม้ พื้น ล่าง ประกอบ ด้วย หวาย ตะ ค้า ทอง หมาก แดง และ หมาก ชนิด อื่น ๆ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น